สำหรับศิลปะและวัฒนธรรมไทยนั้นมีเยอะแยะมากมายเต็มไปหมดซึ่งในบทความนี้เราจะมาพูดถึงศิลปะและวัฒนธรรมไทยที่มีการพัฒนามาจากศิลปะและวัฒนธรรมไทยดั้งเดิมนั่นก็คือคนชอบกระบอกนั่นเอง

คนเชิดกระบอกการพัฒนาศิลปะ ในยุคสมัยโบราณนั้นไม่มีคนเชิดกระบอกซึ่งจะเห็นได้จากภาพถ่ายหรือจากบันทึกทางประวัติศาสตร์

ก็จะมีให้เห็นว่าหากมีการแสดงในพระมหาราชวังหรือตามร้านค้าตลาดของชาวบ้านนั้นศิลปะการแสดงที่จะนำมาแสดงให้กับผู้ชมในยุคสมัยโบราณนั้นจะใช้เป็นหุ่นเชิดกระบอกซึ่งในปัจจุบันนั้นหุ่นเชิดกระบอกของไทยเราก็ยังคงมีอยู่และยังคงมีการจัดแสดงรวมถึงยังมีการศึกษาและพัฒนาเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง 

สำหรับทางด้านการแสดงคนเชิดคนของคณะโจรลุยเป็นการแสดงที่สร้างขึ้นมาในยุคปัจจุบันนี้เป็นการต่อยอดการเชิดหุ่นกระบอกดั้งเดิมเพื่อสร้างความแปลกใหม่และน่าสนใจต่อผู้ชมโดยการเชิดคนเป็นไวรัลตลอดหลายปีที่ผ่านมาโดยมีการแสดงทั้งในประเทศและต่างประเทศมากมาย

หลายคนอาจจะเคยเห็นฝ่ายเสื้อของหุ่นไร้ชีพคุณที่ทำขึ้นแทนตัวละครมีขนาดและเทคนิคการเชิดตามรูปแบบการแสดงที่แตกต่างกันออกไป

แต่สำหรับการเชิดหุ่นคนคือการใช้คนแทนตัวละครที่เป็นผู้ถูกเชิดซึ่งอาจเป็นภาพที่เห็น อาจเป็นภาพที่เห็นไม่บ่อยนะแต่ไม่ได้ดูได้ชมแล้วต้องบอกว่าน่าตื่นตาตื่นใจไม่แพ้กันโดยการเชิดหุ่นเป็นมหรสพไทยที่เกิดขึ้นตั้งแต่สมัยโบราณเช่นหุ่นกระบอกหุ่นหลวงและหุ่นละครเล็กเป็นต้น

สำหรับการแสดงหุ่นเชิดกระบอกนั้นถือเป็นมรดกด้านศิลปะการแสดงที่ส่งคุณค่าซึ่งมหรสพต่างๆเหล่านี้หาดูได้ยากและกำลังจะกลายเป็นอดีตที่คนไทยลืมเลือนแต่ว่ามีกลุ่มคนเล็กๆอยากชม   โครงการเทิดทูนของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวที่ได้เสาหลักท่านอาจารย์สุกิจตา  วัฒน์บำรุงพาณิชย์ผู้ให้กำเนิดศิลปะการแสดง

แขนงนี้ที่พยายามพัฒนาต่อยอดสิ่งใหม่ด้วยการสร้างศิลปะกลุ่มคนโดยเป็นการแสดงรูปแบบใหม่ที่เกิดจากการผสมผสานศิลปะหลายแขนงนำเสนอรากเหง้าความเป็นไทยและฝ่ายเอกลักษณ์ของมหรสพไทยโบราณอย่างแยบยลงดงามและประณีต

โดยที่ผ่านมานั้นประเทศไทยมักจะตีกรอบแนวคิดให้กับศิลปินที่นำวัฒนธรรมไทยไปดัดแปลงให้เกิดเป็นวัฒนธรรมร่วมสมัยแต่สำหรับอาจารย์สุกิจตา  วัฒน์บำรุงพาณิชย์  ไม่หวั่นต่อสิ่งนี้เพราะตั้งใจทำงานตามลำดับที่ถูกต้องคงรู้ความเป็นไทยเอาไว้อย่างชัดเจน 

สำหรับแนวความคิดของ อาจารย์สุกิจตา  วัฒน์บำรุงพาณิชย์ ที่มีต่อการพัฒนาจากหุ่นเชิดกระบอกมาเป็นคนเชิดกระบอกนั้นก็เพราะว่าอาจารย์ต้องการให้ความสนใจกับประเพณีและวัฒนธรรมไทยซึ่งการพัฒนาต่อยอดนั้นยังคงอยู่ในความเหมาะสมและยังอยู่ในหลักการที่ถูกต้องไม่ได้มีการบิดเบือนจากของเดิมเพียงแต่ว่าเป็นการรังสรรค์สร้างสรรค์ผลงานขึ้นมาใหม่และสามารถสร้างผลงานทำให้ผู้คนนั้นรู้จักวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทยได้

นอกจากนี้สิ่งที่พัฒนาขึ้นมาใหม่อย่างคนเชิดกระบอกนั้นก็ยังไม่ได้มีการพัฒนาแบบเละเทะยังไม่มีความสูญสิ้นการเป็นไทยยังคงแสดงให้เห็นถึงความเป็นไทยอยู่ดังนั้นหุ่นเชิดกระบอกจึงเป็นอีกศิลปะหนึ่ง ที่สามารถบอกได้ว่าเป็นการพัฒนาจากศิลปะดั้งเดิมของไทยและยังสามารถทำให้ชาวโลกได้เห็นความงดงามของศิลปะและวัฒนธรรมไทยผ่านการแสดงหุ่นเชิดกระบอกได้นั่นเอง

 

สนับสนุนโดย    alpha88

คนเชิดกระบอกการพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรมไทย