ทางแยกต่างระดับสี่คิ้วเมื่อได้ขับรถตามถนนไปที่หมายเลข24ประมาณ135กิโลกเมตรจะพบกับสามแยกตะโกเมื่อเลี้ยวขาวไปประมาณ30กิโลเมตรถนนจะพาเราไปถึงอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ปราสาทเขาพนมรุ้งได้เป็นภูเขาที่ได้ดับสนิดแล้วหนึ่งในห้าลูกของจังหวัดบุรีรัมย์

ซึ่งบนยอดสูงสุดเป็นที่ตั้งของปราสาทหินหลังใหญ่ที่สวยงาม

และมีความสำคัญที่สุดในหลังหนึ่งของประเทศไทย คำว่าพนมรุ้งมีลากสักมาจากภาษาเขรม มีความหมายว่าภูเขาอันกว้างใหญ่หรือรุ่งเรืองการมาพบปราสาทหลังใหญ่ที่ได้ตั้งสูงบนภูเขาสูงมันอาจจะเป็นเรื่องที่หน้าอัศจรรย์แต่มันก็คงไม่น่าแปลกใจอะไรมากนักหากเรานั้นเข้าใจในหลักคติความเชื่อศาสนาพราฮินดูละทิใสวรนิกายที่มีปัดยาเกี่ยวกับระบบจักรวาลโดยมีเขาพระสุเมธเป็นแกนกลางของโลกและบนยอดเขาคือสถานที่สถิตเทพเจ้าปราสาทพนมรุ้งมีแผนผังแบบตรงเข้าสู่จุดศูนย์กลางจากด้านล่าง

มีสะพานนาคราชต่อเชื่อมกับบรรไดหินทรายมีความสูงประมาณ10เมตรแบ่งเป็น5ชั้นจำนวน52ขั้นเพื่อที่จะเดินขึ้นสู่ประตูที่อยู่บนยอดเขาซึ่งมันเป็ยปราสาทหลังเดียวล้อมรอบด้วยระเบียวคดที่มีโคปุระหรือซุ้มประตูทั้ง4ด้านด้านหน้าระเบียงคดเป็นลานโล่งกว้าง ซึ่งได้เกิดจากการถมระดับพื้นที่ภูเขาเพื่อให้เป็นประโชน์ใช้สอยถัดไปเป็นสพานเป็นบันไดนาคราช

ช่วงที่2รับเข้าสู่ซุ้มประตูและเมื่อได้ผ่านเข้าไปก็จะพบกับสพานนาคราชอีกช่วงเพื่อรับเข้าสู่ปราสาทประทาน ปราสาทประทานได้ตั้งอยู่จุดศูนย์กลางสร้างด้วยหินทรายสีชมพูบนฐานบัวเตี้ยๆตัวฐานสลักเป็นลวดลายต่างๆเช่นลายกีบดอกบัวลายประจำยามช่วงเรือนธาตุอยู่ในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพิ่มมุมมีมุกยื่นออกมาอีกสามด้านด้านหน้าเป็นรูปมนดกสี่เหลี่ยมพื้นผ้าได้มีช่องทางที่ได้

เชื่อมต่อถึงกันเรือนยอดหรือส่วนยอกของปราสาทประทานเป็นทรงพุ้มทำเป็นชั้นซ้อนกัน5ชั้นแต่ละชั้นประดับด้วยแถลงและนาคปักภายในเรือนธาตุได้สันนิษฐานว่าหน้าจะเคยเป็นที่ประดิษฐานของรูปเคราพที่สำคัญที่สุดของศาสตร์สถานนั้นคือ พระศิวะลึงค์

ซึ่งได้เป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะแต่ในปัจจุบันนั้นมันได้หายไปเหลือแค่เพียงหลักฐานคือท่อสวมสู่หรือร่องน้ำวนที่ได้ใช้ในการรับน้ำสงฆ์จากการสกการะศิวะลึงค์ ปราสาทพนมรุ้งได้ถูกตกแต่งด้วยลวดลายจำรัจประดับเอาไว้ในส่วนต่างๆอย่างวิจิตโดยเฉพาะหน้าบันและทับหลัง ซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นภาพเหล่าเรื่องเทพเจ้าในศาสนาฮินดูภาพฤาษีและยังรวมไปถึงภาพพิธีกรรมซึ่งได้เป็นงานฝีมือในระดับเดียวกับช่างศูนย์กลางที่เมืองพระนคร

การเดินทางพบปราสาทเขาพนมรุ้ง